กระแสเกาหลี วิจัย วัฒนธรรมเกาหลี กระแสเกาหลีในไทย Soft Power เกาหลี วัฒนธรรมเกาหลีที่น่าสนใจ อาหารเกาหลี วัฒนธรรมเกาหลี ด้านอาหาร
กระแสเกาหลี วิจัย กระแสเกาหลี (เกาหลี: 한류; ฮันจา: 韓流) หรือ คลื่นเกาหลี (อังกฤษ: Korean Wave) หมายถึงวัฒนธรรมเกาหลี การแพร่ของวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีใต้ไปทั่วโลก คำนี้ประดิษฐ์ขึ้นในประเทศจีนเมื่อกลางปี ค.ศ. 1999 โดยนักหนังสือพิมพ์ปักกิ่งซึ่งประหลาดใจในความนิยมของบันเทิงและวัฒนธรรมเกาหลีในจีนที่เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว กระแสเกาหลีสร้างรายได้แก่เกาหลีใต้เป็นเงิน 4,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐผ่านการส่งออกวัฒนธรรมกระแสเกาหลีเกิดขึ้นจากโลกในยุคโลกาภิวัฒน์ที่การสื่อสารไร้พรมแดน โดยผ่านสินค้าทางวัฒนธรรมเคป๊อป ซึ่งได้แก่ เพลง, ละครโทรทัศน์, ภาพยนตร์, วีดีโอเกม, นวนิยาย, การ์ตูนและแอนิเมชัน โดยเริ่มมาจากกิจกรรมของภาคเอกชนในการค้าขายทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเกาหลี
กระแสเกาหลีในไทยไปยังประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะภาพยนตร์และละครโทรทัศน์และเพลงเกาหลี แต่กระแสที่เกิดขึ้นและรายได้มหาศาลที่กลับเข้าสู่ประเทศ ทำให้รัฐบาลเกาหลีใต้ต้องกลับมาพิจารณานโยบายเสียใหม่ โดยเปลี่ยนเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมในภาคบันเทิง กระแสเกาหลีได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว เนื่องจากความสดใหม่ที่เป็นทางเลือกของตลาดโลก ในยามที่กระแสของเจป๊อปเริ่มถดถอย และลัทธิต่อต้านอเมริกันแพร่ไปทั่วโลก จนได้รับความนิยมแม้ในกระทั่งประเทศทางแถบตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกา, แคนาดา หรือประเทศที่เคร่งครัดศาสนาเช่น กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง[1] ผลกระทบของกระแสนิยมคลื่นเกาหลีส่งผลให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของเกาหลีใต้ทำรายได้มากขึ้น
กระแสเกาหลีในไทย
Soft Power เกาหลีและยังทำให้ผู้คนทั่วโลกหันมาสนใจในเรื่องราวของความเป็นชาติเกาหลีมากขึ้นอีกด้วย ในประเทศไทย กระแสเกาหลีเริ่มต้นในราวปี ค.ศ. 2001 จากความสำเร็จของภาพยนตร์เรื่อง My Sassy Girl (ยัยตัวร้ายกับนายเจี๋ยมเจี้ยม) จากนั้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2005 เมื่อช่อง 3 ได้นำละครโทรทัศน์เรื่อง Jewel in the Palace (แดจังกึม จอมนางแห่งวังหลวง) เข้ามาฉาย ประสบความสำเร็จและได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก จนกลายเป็นปรากฏการณ์ ทำให้สถานีโทรทัศน์ช่องต่าง ๆ ได้ซื้อลิขสิทธิ์ละครโทรทัศน์เกาหลีมาฉายแข่งขันกันจนกระทั่งในราวต้นปี ค.ศ. 2014 กระแสเกาหลีในประเทศไทยเริ่มสร่างซาลง มีการวิเคราะห์กันว่าวัฒนธรรมญี่ปุ่นจะหวนกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง
Soft Power เกาหลี
วัฒนธรรมเกาหลีที่น่าสนใจในยุค Globalization โลกไร้พรมแดนทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนสินค้าและวัฒนธรรมข้ามพรมแดน นำมาซึ่งการหลั่งไหลของสินค้าและวัฒนธรรมจากประเทศหนึ่งสู่ประเทศหนึ่ง จากซีกโลกหนึ่งสู่อีกซีกโลกหนึ่ง กระแส “Americanization” ที่เคยเกิดขึ้นหลายสิบปีก่อน อาจกล่าวได้ว่าคือตัวอย่างแรกๆ ของกระบวนการขายสินค้าผ่านการแทรกซึมของวัฒนธรรมอเมริกัน โดยมี “Hollywood” Product เป็นตัวนำร่องเมื่อลมพัดหวนกลับมายังฝั่งตะวันออก วัฒนธรรมเอเชียกลายเป็นจุดสนใจของชาวโลกมากขึ้นเรื่อยๆ “จีน” พี่ใหญ่แห่งเอเชียดูจะเป็นตัวเต็ง เพราะเป็นรายแรกของเอเชียที่เริ่มแผ่ขยายวัฒนธรรมจีนผ่านหนังละครส่งออกไปประเทศต่างๆ แต่ทว่าก็ยังไม่ใช่ตัวจริง มาถึงกระแส J-Trend ที่มาแรงเมื่อ 10 กว่าปีก่อน
วัฒนธรรมเกาหลีที่น่าสนใจ
อาหารเกาหลีสร้างมูลค่าและค่านิยมอันดีต่อภาพลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่นได้มาก แต่ก็ยังไม่สามารถเชื่อมโยงกับมูลค่าเศรษฐกิจได้อย่างเป็นรูปธรรมจนกระทั่งกระแส “Hallyu” จากประเทศเล็กๆ ที่ UNESCO เคยจัดอันดับให้เป็นหนึ่งในประเทศยากจนเมื่อหลายสิบปีก่อน ประเทศที่มีผ่านสงครามซ้ำแล้วซ้ำอีกจนต้องจมอยู่กับประวัติศาสตร์อันขื่นขมมานานหลายสิบปี แต่ทว่าวันนี้ “Hallyu” หรือ Korean Wave คลื่นวัฒนธรรมเกาหลีที่ถูกส่งออกไปผงาดอยู่ทั่วโลก ทำให้ “พี่ใหญ่” หลายประเทศต้องหันมามองประเทศเล็กๆ อย่าง “เกาหลี” ในมุมใหม่Rebirth of “Hallyu”“Hallyu” หรือ Korean Wave หรือก็คือ วัฒนธรรม K-pop ที่แพร่ระบาดไปทั่วโลก โดยเฉพาะละครและหนังเกาหลีที่ได้รับการยอมรับจากคนดูได้ทุกชาติทุกภาษา และสร้าง “ดีมานด์สูง” อยู่ในตลาดโลกกระแสเกาหลี วิจัย
ขอบคุณเครดิต workpointtoday
ข่าวแนะนำ
- โซเชียลวันนี้ Social Media มันคืออะไร?
- โซเชียลวันนี้ AIS เผยสถิติการใช้โซเชียลรับปี 66
- กระแสดัง กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก
- กระแสดัง 100 เทรนด์ที่จะกำหนดอนาคตปี 2022
- กระแสฮิต เพลงฮิตติดกระแส